Page 32 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 32

26





                      3.19  การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในข้อความ

                               การใช้เครื่องหมายวรรคตอนจะช่วยท าให้ข้อความในบทนิพนธ์นั้นชัดเจนขึ้น โดยปกติการ

                      เขียนบทนิพนธ์ภาษาไทยไม่นิยมใช้เครื่องหมายวรรคตอน  แต่ถ้าจ าเป็นต้องใช้ให้พิจารณาข้อก าหนด
                      ดังต่อไปนี้

                               3.19.1  เครื่องหมายมหัพภาค (.) จุลภาค (,) อัฒภาค (;) ยัติภาค (-) และมหัพภาคคู่ (:)

                                     เมื่อต้องใช้เครื่องหมายดังกล่าวข้างต้นให้เว้นระยะ 1 ตัวอักษรหลังเครื่องหมาย
                      ยกเว้นยัติภาค (-) และมหัพภาคคู่ (:) ให้เว้นระยะ 1 ตัวอักษรหน้าเครื่องหมายด้วย



                                ตัวอย่าง

                                See also Vol. 10, p. 284
                                พ.ศ. 2555 - 2560

                                อัตราส่วนนักศึกษาและอาจารย์  คือ  10 : 1

                                การออกแบบด้วยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้ (Allowable Stress Design : ASD)


                               3.19.2    เครื่องหมายอัญประกาศ (“  ”)

                                     3.19.2.1 ใช้ในกรณีที่ผู้เขียนบัญญัติศัพท์ใหม่ และใช้ครั้งแรกเท่านั้น
                                     3.19.2.2  เมื่ออ้างถึงชื่อหนังสือ บทความ หรือการคัดลอกข้อความ (Quotation)

                      ในบทนิพนธ์ที่มีความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด ถ้าข้อความที่คัดลอกมีความยาวเกิน 3 บรรทัดให้จัดเป็นย่อ

                      หน้าใหม่โดยไม่มีเครื่องหมายอัญประกาศ
                                     3.19.2.3  ถ้าต้องการละข้อความบางตอนในอัญประกาศ ให้ใช้เครื่องหมายจุดไข่

                      ปลาสามจุด “...” โดยก่อนและหลังจุดไข่ปลาสามจุดให้เว้นอย่างละ 1 ระยะตัวอักษร


                         ตัวอย่าง

                               จาก “สารพัดความผิดของครู”  ของสมเชาว์  เกษประทุม (2538) กล่าวว่า ปีหนึ่ง ๆ

                               เราต้องเผชิญกับคดีการกระท าผิดของครูที่ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการครูต้อง
                               เข้าไปจัดการถึงกว่า  1,000  เรื่อง



                               ชัยวัฒน์  คุปตระกุล (2539 : 26 – 29)  นักวิทยาศาสตร์ชั้นน าคนหนึ่งของบ้านเรา ได้
                               เคยกล่าวไว้ว่า “….คนเก่งในอนาคต มิใช่คนที่รู้หรือจ าข้อมูลได้มากมาย แต่เป็นคนที่รู้

                               ว่าในสถานการณ์ใดจะต้องใช้ข้อมูลอะไร และจะไปหาข้อมูลนั้น ๆ ได้ที่ไหน…”
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37