Page 28 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 28
22
ตัวอย่าง
ตารางที่น ามาจากบทความวารสาร
หมายเหตุ จาก “ชื่อบทความ,” โดย ชื่อผู้แต่ง, ปี, ชื่อวารสาร, ปีที่, เลขหน้า.
ตารางที่น ามาจากหนังสือ
หมายเหตุ จาก ชื่อหนังสือ (หน้า), โดยชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์,
สถานที่พิมพ์ : ส านักพิมพ์.
3.14.4 การพิมพ์ตาราง
ตารางที่น าเสนอควรพิมพ์แนวตั้งเพื่อความสะดวกในการพิมพ์และการอ่าน โดย
จัดต าแหน่งต่าง ๆ และที่ว่างอย่างเหมาะสม เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลที่น าเสนอในตาราง
อย่างเด่นชัด การแสดงตารางในวิทยานิพนธ์ ควรจะได้ค านึงถึงเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
3.14.4.1 ตารางให้พิมพ์ในกระดาษธรรมดาที่ไม่มีเส้นบรรทัด ก่อนจะแสดงตาราง
ควรกล่าวน าถึงตารางนั้น ๆ เสียก่อนในเนื้อความ เพื่อให้ทราบว่าจะแสดงตารางเพื่ออะไร ควรน าเสนอ
ตารางในแบบที่เข้าใจได้ง่าย และสามารถเห็นข้อมูลที่ประสานสัมพันธ์กันได้เป็นอย่างดี
3.14.4.2 ในหนึ่งตารางควรเสนอรายละเอียดข้อเท็จจริงที่สัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
และเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน เมื่อแสดงตารางแล้วควรมีค าอ่านตารางนั้น โดยแสดงเฉพาะ
ประเด็นที่ส าคัญที่ต้องการให้ผู้อ่านได้เห็นตามที่ผู้วิจัยต้องการเน้น
3.14.4.3 การกล่าวถึงตารางให้ใช้หมายเลขที่ก ากับตารางนั้นไว้แล้ว เพื่อผู้อ่านจะ
ได้ทราบว่าเนื้อความตอนนั้นกล่าวถึงตารางใด และชื่อตารางให้อยู่เหนือเส้นบนสุดของตารางซึ่งเป็น
เส้นคู่ มีค าว่า ตารางที่… ต่อด้วยหมายเลขตาราง ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ค าว่า TABLE แล้วต่อด้วย
ชื่อของตารางโดยใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ระหว่างชื่อตาราง และตัวตารางให้ห่างกัน 1 ช่วง
บรรทัดพิมพ์คู่พิมพ์คี่ หรือ 1 บรรทัดคอมพิวเตอร์
3.14.4.4 ตัวเลขในตารางที่เป็นแนวตั้งควรพิมพ์เรียงกันเป็นแนวเดียวกัน โดยยึด
เลขหลักหน่วยขวาสุดนอกจากว่าเป็นตัวเลขที่มีทศนิยม ควรวางจุดทศนิยมให้ตรงกัน หรือตัวเลขเป็น
ชุดที่มียัติภังค์ เช่น 15 – 17 ก็ควรให้ยัติภังค์ตรงกัน
3.14.4.5 เลขที่เป็นทศนิยมนั้น หากผู้วิจัยใช้ทศนิยมกี่ต าแหน่งตั้งแต่แรกก็ควรใช้
จ านวนต าแหน่งเท่านั้นตลอดไป แม้ต าแหน่งสุดท้ายจะเป็นเลขศูนย์ก็ตาม เช่น 142.47, 155.20,
114.86, 124.88, … และส าหรับเลขที่มียัติภังค์ เลขหลังยัติภังค์ต้องเขียนเป็นจ านวนเต็ม
3.14.4.6 ข้อมูลในตารางควรมีการจัดระยะระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ที่น าเสนอให้
เหมาะสมสวยงาม