Page 30 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 30

24





                               3.15.1   ภาพประกอบที่มีคุณภาพมาตรฐานส าหรับภาพประกอบที่ดี คือ ง่าย กระจ่าง

                      และต่อเนื่อง ภาพประกอบที่ดีควรมีรายละเอียด ดังนี้

                                   3.15.1.1 เสริมมากกว่าซ้ าข้อความ
                                   3.15.1.2  น าเสนอข้อเท็จจริงส าคัญ ๆ เท่านั้น

                                   3.15.1.3  ละเว้นรายละเอียดที่ดึงดูดสายตา

                                   3.15.1.4  อ่านง่าย เข้าใจง่าย
                                   3.15.1.5  มีความคงที่ในการน าเสนอ ไม่ว่าจะเป็นลักษณะขนาด ตัวอักษร ลายเส้น

                                   หมายเลขภาพประกอบ จะใช้ค าว่า “ภาพประกอบ …….” แล้วใส่หมายเลขของ

                      ภาพประกอบ ตามล าดับ ตามที่ปรากฏในเนื้อความโดยเริ่มจากภาพประกอบ 1 เป็นต้นไป
                               3.15.2  ค าอธิบายภาพ

                                     ภาพที่น าเสนอจะมีค าอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ในภาพ และค าอธิบายสั้น ๆ ได้

                      ใจความ ค าอธิบายนี้จะใช้แทนชื่อภาพไปในตัว
                                     ค าอธิบายภาพควรให้รายละเอียดอธิบายอย่างพอเพียง โดยผู้อ่านไม่จ าเป็นต้องไป

                      อ่านค าอธิบายในเนื้อความอีก นอกจากนี้ควรระบุหน่วยของการวัด กรณีภาพที่ใช้น ามาจากแหล่งอื่น

                      ให้ระบุแหล่งที่มาของภาพเช่นเดียวกับการท าหมายเหตุท้ายตาราง
                               3.15.3    การพิมพ์ภาพ

                                       การพิมพ์ให้ใช้ลักษณะเดียวกับตาราง แต่ล าดับที่และค าอธิบายภาพจะอยู่ใต้ภาพ

                      นั้น กรณีที่ไม่สามารถให้ภาพและค าอธิบายอยู่หน้าเดียวกันได้ ให้ใส่ค าบรรยายไว้ในหน้าซ้ายมือ และ
                      นับหน้านั้นด้วย  ในกรณีภาพนั้นต้องเป็นภาพถ่ายอัดส าเนาต้องท าบนกระดาษให้ชัดเจนแต่ไม่ต้อง

                      พิมพ์เลขหน้า


                      3.16  การเขียนเชิงอรรถ

                               เชิงอรรถ  คือ  ข้อความต่อท้ายหน้าที่ใช้ขยายหรือเสริมเนื้อความในหน้านั้น  หรือเป็นการ

                      โยงให้ผู้อ่านดูข้อความที่มีความสัมพันธ์กันที่ปรากฎในหน้าอื่น ๆ ข้อความที่น ามาลงเชิงอรรถไม่ควร
                      เป็นข้อความซ้ าซ้อน ข้อความที่ไม่จ าเป็น หรือไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อความ

                               ในกรณีที่เชิงอรรถยาวเป็นย่อหน้า  หรือต้องการน าสมการคณิตศาสตร์ใส่ไว้ในเชิงอรรถ

                      ขอให้พิจารณาว่าจะน าข้อความนั้นไปใส่ไว้ในเนื้อความ หรือภาคผนวกจะเหมาะสมกว่า
                               การเขียนเชิงอรรถจะใช้เครื่องหมายตัวเลข ก ากับตรงเนื้อความที่ต้องการเสริม  (ดังตัวอย่าง)

                      ในแต่ละหน้า  ถ้ามีเชิงอรรถมากกว่าให้ไล่ล าดับตัวเลขตามก ากับ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35