Page 20 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 20
14
ส่วนเนื้อหา 1 บรรทัด บทนิพนธ์ภาษาไทย เลขประจ าบทให้ใช้เลขอารบิก ส่วนบทนิพนธ์ภาษาอังกฤษ
หรือภาษาต่างประเทศใช้เลขโรมันใหญ่
3.5.2 หัวข้อ
ในแต่ละบทจะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย
ความส าคัญเท่ากันจะอยู่ในระดับเดียวกัน
หัวข้อใหญ่ คือ หัวข้อที่มีความส าคัญที่สุดในบท หัวข้อใหญ่ทุกหัวข้อมีน้ าหนัก
ความส าคัญใกล้เคียงกัน จะจัดเรียงตามล าดับโครงสร้างเนื้อหาที่น าเสนอ และจัดพิมพ์ชิดริมซ้าย
หัวข้อรอง/หัวข้อย่อย คือ หัวข้อที่อยู่ภายใต้หัวข้อใหญ่ หัวข้อรองทั้งหมดในหัวข้อ
ใหญ่ จะมีความสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องกับหัวข้อใหญ่ ข้อพึงระวัง คือ การน าหัวข้อที่ไม่เกี่ยวข้อง
มาจัดไว้ภายใต้หัวข้อใหญ่หัวข้อเดียวกัน นอกจากนี้ในแต่ละหัวข้อพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้มีหัวข้อรอง
หรือหัวข้อย่อยเพียงหัวข้อเดียว การพิมพ์หัวข้อรอง/หัวข้อย่อยจะพิมพ์เยื้องจากหัวข้อใหญ่เข้ามา
ด้านใน
3.5.3 การเรียงล าดับหัวข้อการเรียงล าดับหัวข้อในแต่ละบทสามารถจัดได้ 2 วิธี
3.5.3.1 ใช้ตัวเลขก ากับ โดยไม่ควรใช้ตัวเลขมากกว่า 4 ตัว ถ้าเกินให้ใช้สัญลักษณ์
1) , 2) , 3) , … แทน หัวข้อย่อยต่อให้ใช้สัญลักษณ์ (1) , (2) , (3) , … แต่ถ้ามีหัวข้อย่อยต่อไปอีก
ให้ใช้สัญลักษณ์ ก. ,ข. ,ค. , ... แทน
3.5.3.2 การใช้ระดับการย่อหน้า
หัวข้อใหญ่ พิมพ์ชิดซ้าย ให้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือหนักกว่าปกติ ถ้าเป็น
วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของทุกค าในหัวข้อใหญ่ ให้พิมพ์ด้วยตัวใหญ่ ยกเว้นค าบุพบท
(Preposition) ค าสันธาน (Conjunction) และค าน าหน้านาม (Article) ไม่ต้องพิมพ์ตัวใหญ่ แต่ถ้าค า
เหล่านี้เป็นค าแรกของหัวข้อให้พิมพ์ตัวใหญ่ ถ้าเป็นการพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้ก าหนดระยะ
ย่อหน้า ดังนี้ ย่อหน้าแรกหรือแท๊บแรก 1.5 เซนติเมตร และตั้งแท็บ 2.5 เซนติเมตร, 4 เซนติเมตร,
4.5 เซนติเมตร และ 5 เซนติเมตร เป็นไปตามล าดับ ดังตัวอย่าง
1.1 หัวข้อใหญ่
1.1.1 หัวข้อรอง
1.1.1.1 หัวข้อย่อย
1.1.1.2 หัวข้อย่อย
1) XXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXX
2) XXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXX
3) XXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXX