Page 16 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 16

10





                                           ส่วนแรกเป็นการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยนี้

                      การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่ดี คือ การก าหนดแนวทางที่จะศึกษา แล้วจึงน างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                      เข้ามาประกอบในการเขียนให้มีความต่อเนื่องกัน และท าการวิพากษ์ในประเด็นต่าง ๆ ให้ครบถ้วน
                                          ส่วนที่สอง เป็นการน าประเด็นและแนวคิดที่ได้จากการทบทวนงานใหม่

                      จากส่วนแรก มาสร้างเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยของผู้วิจัยเอง และระบุอย่างชัดเจนว่าการตอบ

                      ค าถามการวิจัยในประเด็นต่าง ๆ จะใช้แนวคิดหรือแง่มุมในการวิเคราะห์อย่างไร
                                   2.1.2.3   วิธีด าเนินการวิจัย เป็นการน าเสนอถึงปรากฏการณ์ของการศึกษา

                      ที่ระบุว่าผู้วิจัยมีความสนใจปรากฏการณ์ทางสังคมใด สนามหรือพื้นที่การศึกษามีลักษณะสอดคล้อง

                      กับปรากฏการณ์นั้นอย่างไร หลังจากนั้นจะบอกถึงวิธีการศึกษาปรากฏการณ์ว่าใช้วิธีการวิจัยแบบใด
                      เทคนิคการวิจัยมีอะไรบ้าง เช่น ใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก การสร้างแนวค าถามท าอย่างไร ผู้ให้ข้อมูล

                      หลักเป็นบุคคลกลุ่มใด โดยควรมีตารางแสดงข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลหลักไว้ด้วย ล าดับต่อมาเป็นการ

                      น าเสนอว่าการประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลว่าใช้วิธีการอย่างไร และอาจกล่าวด้วย
                      ว่า     มีการน าเสนอผลการวิจัยอย่างไร ในลักษณะใด

                                   2.1.2.4   ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ไปพร้อม ๆ

                      กัน การน าเสนอผลการวิจัยอาจแยกออกเป็นบทต่าง ๆ ตามประเด็นของปัญหาการวิจัยที่ก าหนด
                      ในบางกรณีบทเริ่มต้นในส่วนของผลการวิจัย อาจเป็นบริบทของปรากฏการณ์ที่ศึกษาก่อนได้

                                   2.1.2.5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เป็นการสรุปผลงานวิจัยในลักษณะของ

                      การตอบค าถามการวิจัย ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ได้ก าหนดไว้ ข้อเสนอเชิงทฤษฎีต้องมีความ
                      ชัดเจนมากกว่าเป็นเพียงการบอกเล่าปรากฏการณ์โดยสรุปเท่านั้น หลังจากให้ข้อเสนอทางทฤษฎีแล้ว

                      ผู้วิจัยควรมีข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่เหมาะสม เช่น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ

                      แนวทางการวิจัยต่อไป เป็นต้น


                      2.2 บทคัดย่อ (Abstract)

                               เป็นการสรุปแนวคิดและเนื้อหาของบทนิพนธ์ เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงภาพรวม โดยให้เขียน
                      เชิงพรรณนาความ กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย หน่วยวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ใน

                      การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยโดยสรุป และข้อเสนอที่ส าคัญที่ได้จากการวิจัย การเขียนบทคัดย่อควร

                      ใช้ภาษาที่กระชับรัดกุมชัดเจน ตรงประเด็น ควรมีความยาวประมาณ 100 – 200 ค า โดยระบุ ดังนี้
                               2.2.1  เรื่องที่ศึกษาและวัตถุประสงค์ของการวิจัยถ้าเป็นไปได้ให้เขียนเพียง 1 – 2 ประโยค

                      โดยไม่เขียนชื่อบทนิพนธ์ซ้ า
                               2.2.2  กลุ่มที่ศึกษา โดยระบุลักษณะ เช่น จ านวน ประเภท อายุ เพศ หรือสกุลของพืชและ

                      สัตว์
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21