Page 17 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 17
11
2.2.3 วิธีวิจัย รวมถึงเครื่องมือ วิธีรวบรวมข้อมูล
2.2.4 ผลการวิจัย รวมถึงระดับนัยส าคัญทางสถิติ
2.2.5 สรุปและประยุกต์ผลการวิจัย
2.3 ภาคผนวก
ภาคผนวก คือ เนื้อหาส่วนที่เพิ่มเติมไว้ท้ายบทนิพนธ์ เพื่อให้เนื้อหาของบทนิพนธ์มีความ
สมบูรณ์ขึ้น ภาคผนวกมีจุดประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้เขียนสามารถน าเสนอรายละเอียดที่เกี่ยวข้องที่ไม่ใช้
เนื้อเรื่องโดยตรงได้ เพราะถ้าน าเสนอในเนื้อเรื่องจะดึงความสนใจของผู้อ่าน
ภาคผนวกอาจมีหลายลักษณะ เช่น ตารางขนาดใหญ่หรือตารางมีไว้ใช้ในการอ้างอิง ค าศัพท์
แบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ประวัติของบริษัท พระราชบัญญัติ
ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหางานบทนิพนธ์ เป็นต้น ในบทนิพนธ์อาจมีภาคผนวกเดียว ให้ใช้ค าว่า ภาคผนวก
ในกรณีมีหลายภาคผนวก ให้ใช้อักษรก ากับ เช่น ภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ตามล าดับ ที่กล่าวถึงใน
เนื้อความ ภาคผนวกแต่ละเรื่องจะมีชื่อเรื่องก ากับ ส่วนในเนื้อความให้อ้างถึงภาคผนวกนั้นเมื่อต้องการให้
ผู้อ่านติดตามอ่านเพิ่มเติม เช่น ดูภาคผนวก ก.
2.4 ตารางกับการแสดงเนื้อความ
ตารางจะช่วยให้ผู้วิจัยน าเสนอข้อมูลตัวเลขจ านวนมาก โดยใช้เนื้อที่ในการพิมพ์ไม่มากนัก
ตารางจะน าเสนอค่าตัวเลขต่าง ๆ โดยมีการจัดอย่างเป็นระเบียบตามแถวและแนวซึ่งช่วยในการ
เปรียบเทียบ
ในการวิจัยเรื่องหนึ่ง ๆ ควรก าหนดว่าจะน าเสนอตารางจ านวนเท่าใด ทั้งนี้เพราะว่า
ถ้าตารางมากเกินไป ตารางจะแทรกเต็มข้อความหมดและท าให้ผู้อ่าน อ่านข้อความล าบาก อีกทั้งการ
พิมพ์เพื่อไม่ให้เนื้อความเต็มไปด้วยตัวเลข ในขณะเดียวกัน ถ้าตัวเลขที่น าเสนอมีไม่มากนัก
การน าเสนอควรรวมกับเนื้อความ
ในการน าเสนอตาราง ให้พิจารณาปริมาณข้อมูลที่ผู้อ่านจ าเป็นต้องมีเพื่อเข้าใจข้อความ
ที่ก าลังอ่านแล้วจึงตัดสินใจว่าข้อมูลนั้นควรน าเสนอเป็นเนื้อความ ตาราง หรือภาพ ถ้าข้อมูลละเอียด
มากควรน าเสนอในภาคผนวก
โดยปกติตารางใช้น าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ แต่ในบางครั้งใช้เพื่อเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
ได้เช่นกัน ตารางที่น าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณจะมีประสิทธิภาพเมื่อมีการจัดน าเสนอข้อมูลอย่างดีที่
ผู้อ่านสามารถจับความหมายได้รวดเร็ว