Page 25 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 25
19
3.11 การจัดพิมพ์บรรณานุกรม
เป็นรายชื่อหนังสือ เอกสาร โสตทัศน์วัสดุ หรือสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้อ้างอิงประกอบการ
เขียนบทนิพนธ์โดยน าเสนอแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างครบถ้วน เพื่อให้ผู้อ่านสามารถตรวจสอบหรือ
ค้นคว้าเพิ่มเติมได้
รายการอ้างอิงแต่ละรายการบรรทัดแรกให้พิมพ์ชิดริมซ้ายตามรูปแบบที่ก าหนด เมื่อขึ้น
บรรทัดใหม่ให้พิมพ์เยื้องขวาโดยก าหนดระยะเยื้อง 1.25 เซนติเมตร พิมพ์จนจบข้อความ
การจัดพิมพ์บรรณานุกรมให้จัดเรียงตามล าดับพยัญชนะและล าดับสระ โดยจัดพิมพ์
บรรณานุกรมภาษาไทยก่อนตามด้วยบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ
3.11.1 การล าดับพยัญชนะ
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ
ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ
ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
3.11.2 ล าดับสระ
อ ะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ
ออ เออะ เออ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว ฤ ฤา ฦ ฦา อ า ใอ
ไอ เอา
3.11.3 ล าดับพยัญชนะอังกฤษ
A B C D E F G H I J K L M N O
P Q R S T U V W Y Z
3.12 การจัดพิมพ์ภาคผนวก
เป็นส่วนเพิ่มต่อจากบรรณานุกรม เพื่อให้ได้ความกระจ่างและรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่องที่ศึกษา แต่มิใช่เนื้อหาของบทนิพนธ์ โดยแยกตอนออกมาพิมพ์บอกตอนว่า “ภาคผนวก”บรรทัด
ต่อมาให้ระบุชื่อภาคผนวกโดยจัดข้อความให้อยู่กลางหน้ากระดาษ ใช้รูปแบบตัวอักษร Angsana
New ขนาดอักษร 18 ตัวหนา กรณีมีหลายภาคผนวกให้พิมพ์หน้าบอกตอนเป็น ภาคผนวก ก.
ภาคผนวก ข. เป็นต้นตามรูปแบบข้างต้น ดังแสดงตัวอย่าง ดังนี้