Page 9 - เล่มสมบูรณ์ 14 มิ.ย.62
P. 9

3




                               1.3.2  ส่วนเนื้อหา  มีดังนี้

                                   1.3.2.1   ส่วนที่เป็นเนื้อหา

                                         1)  บทน า
                                         2)  เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                                         3)  วิธีด าเนินการวิจัย

                                         4)  ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
                                         5)  สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

                                   1.3.2.2   ส่วนประกอบในเนื้อหา

                                         1) อัญประกาศ (Quotation)
                                         2)  การอ้างอิง (Reference)

                                         3)  บันทึกเพิ่มเติม (Note)  (ถ้ามี)

                                         4)  ตาราง (Table)  (ถ้ามี)
                                         5)  ภาพประกอบ (Figure)

                               1.3.3  ส่วนประกอบตอนท้าย  มีดังนี้

                                   1.3.3.1   บรรณานุกรม (Bibliography)  หรือรายการหนังสืออ้างอิง
                                   1.3.3.2   ภาคผนวก (Appendix)  (ถ้ามี)

                                   1.3.3.3   อภิธานศัพท์ (Glossary)  (ถ้ามี)

                                   1.3.3.4   ประวัติย่อผู้วิจัย (Curriculum Vitae)


                               ส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าว เป็นส่วนประกอบที่บทนิพนธ์ทุกเล่มจะต้องมีครบถ้วน

                      ยกเว้นที่วงเล็บไว้ว่า  ถ้ามี  ซึ่งรายละเอียดของส่วนประกอบของบทนิพนธ์จะกล่าวไว้ในบทที่ 2


                      1.4  จรรยำบรรณ และจริยธรรมในกำรท ำวิจัย

                               บทนิพนธ์เป็นงานเขียนที่เสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลที่เป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าในการ
                      ด าเนินการวิจัย โดยผู้วิจัยต้องค านึงถึงจรรยาบรรณ และจริยธรรมในการวิจัย ดังนี้

                               จรรยาบรรณในการท าวิจัยจัดเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของระเบียบวิธีวิจัย เนื่องด้วยในการ

                      ค้นคว้าวิจัย นักวิจัยจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับสิ่งที่ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
                      การวิจัยจึงส่งผลกระทบในทางลบต่อสิ่งที่ศึกษาได้ หากผู้วิจัยขาดความรอบคอบและระมัดระวัง

                      การวิจัยเป็นกิจกรรมที่มีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการวางแผนและก าหนดนโยบายในการพัฒนาประเทศ
                      ทุกด้าน โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในประเทศ ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพขึ้นอยู่กับความรู้

                      ความสามารถของนักวิจัยในเรื่องที่ศึกษา และคุณธรรมจริยธรรมของนักวิจัยในการท าวิจัยด้วย
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14